ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

O Canada

โอแคนาดา (อังกฤษ: O Canada) หรือ โอกานาดา (ฝรั่งเศส: ? Canada) เป็นเพลงชาติของประเทศแคนาดา ประพันธ์ทำนองโดย กาลิซา ลาวาลเล (Calixa Lavall?e) เมื่อ ค.ศ. 1880 เพื่อใช้เป็นเพลงปลุกใจสำหรับการเฉลิมฉลองวันแซงต์-ฌ็อง-บาปตีสต์ในปีนั้น (Saint-Jean-Baptiste Day) เนื้อร้องเดิมแต่งเป็นภาษาฝรั่งเศสโดย เซอร์อดอล์ฟ บาซีล รูทิเอร์ (Sir Adolphe Basile Routhier) เมื่อ ค.ศ. 1880 เนื่องในโอกาสเดียวกัน ส่วนเนื้อเพลงที่เป็นภาษาอังกฤษเริ่มปรากฏให้เห็นเมื่อ ค.ศ. 1906

เนื้อเพลงภาษาอังกฤษที่ใช้ในปัจจุบันเป็นผลงานของรอเบิร์ต สแตนเลย์ เวียร์ (Robert Stanley Weir) ซึ่งประพันธ์ไว้เมื่อ ค.ศ. 1908 และได้รับการดัดแปลงเป็นเนื้อร้องแบบปัจจุบันในปี ค.ศ. 1968 ส่วนเนื้อเพลงภาษาฝรั่งเศสยังคงไว้เช่นเดิม

บทกวี "โอแคนาดา" เขียนขึ้นครั้งแรกเป็นภาษาฝรั่งเศสโดยอดอล์ฟ บาซีล รูทิเอร์ ซึ่งเป็นชาวแคนาดาเชื้อสายฝรั่งเศส โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อใช้เป็นบทเพลงปลุกใจสมาคมแซงต์ชอง-แบบตีสต์ของชาวแคนาดาเชื้อสายฝรั่งเศส และได้นำออกเผยแพร่ครั้งแรกที่เมืองควิเบก ในวันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 1880 อันเป็นวันแซงต์ชอง-แบบตีสต์ในปีนั้น แต่รัฐบาลแคนาดาได้รับรองเนื้อเพลงดังกล่าวเป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 โดยรัฐบาลได้ซื้อลิขสิทธิ์ในทำนองและบทร้องของเพลงนี้ด้วยมูลค่า 1 ดอลลาร์แคนาดา

นับตั้งแต่ ค.ศ. 1867 เป็นต้นมา เพลง "ก็อดเซฟเดอะคิง" และเพลง "เดอะเมเปิลลีฟฟอร์เอเวอร์" ("The Maple Leaf Forever") เป็นบทเพลงที่มีการแข่งกันใช้เป็นเพลงชาติแคนาดาอย่างไม่เป็นทางการ เพลง "โอแคนาดา" ได้เริ่มกลายเป็นอีกเพลงหนึ่งที่ใช้ในลักษณะเพลงชาติอย่างไม่เป็นทางการครั้งแรก เมื่อได้มีการให้เด็กนักเรียนขับร้องเพลงดังกล่าวเพื่อรับเสด็จดยุคและดัชเชสแห่งคอร์นวอล (ต่อมาคือสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีแมรี แห่งเท็ค) ในการเสด็จเยือนแคนาดาในปี ค.ศ. 1901 ห้าปีต่อมา โรงพิมพ์วาเลย์และรอยซ์ (Whaley and Royce) ในเมืองโตรอนโตได้ตีพิทพ์บทเพลงนี้พร้อมเนื้อร้องภาษาฝรั่งเศสและบทแปลภาษาอังกฤษสำนวนแรกสุด ซึ่งแปลโดย ดร.โทมัส เบ็ดฟอร์ด ริชาร์ดสัน (Dr. Thomas Bedford Richardson) หลังจากนั้นในปี ค.ศ. 1908 นิตยสาร Collier's Weekly ได้จัดให้มีการประกวดบทร้องเพลง "โอแคนาดา" ขึ้น ผลปรากฏว่าบทร้องของเมอร์ซี อี. พาวเวลล์ แมคคุลลุช (Mercy E. Powell McCulloch) เป็นบทร้องชนะเลิศ ทว่าบทร้องดังกล่าวไม่เป็นที่นิยมทั่วไป อนี่ง ในปี ค.ศ. 1917 อัลเบิร์ต วัตสันได้แต่งเพลงสดุดี (hymn) ชื่อ "ลอร์ดออฟเดอะแลนด์ส" ("Lord of the Lands") โดยใช้ทำนองเพลงของเพลงโอแคนาดา

บทร้องฉบับภาษาอังกฤษที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายที่สุด ได้ประพันธ์ขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1908 โดย รอเบิร์ต สแตนเลย์ เวียร์ ทนายความและอาลักษณ์ประจำเมืองมอนทรีออลในขณะนั้น ต่อมาได้มีการแก้ไขบทร้องของเวียร์เล็กน้อยเพื่อจัดพิมพ์เผยแพร่อย่างเป็นทางการเนื่องในโอกาสครบ 60 ปีแห่งการรวมตัวเป็นสหพันธรัฐของแคนาดา (the Diamond Jubilee of Confederation) ในปี ค.ศ. 1927 และค่อยๆ ได้รับการยอมรับจากมหาชน กระทั่งได้รับความนิยมเหนือกว่าเพลงอื่นๆ ทั้งหมดในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1960 โดยเพลง "ก็อดเซฟเดอะควีน" ยังคงมีการใช้ในฐานะเพลงสรรเสริญพระบารมี ส่วนเพลง "เดอะเมเปิลลีฟฟอร์เอเวอร์" ก็กลายเป็นเพลงที่ถูกลืมเลือนโดยสิ้นเชิง

บทร้องฉบับภาษาฝรั่งเศสของเพลงโอแคนาดานี้เป็นผลงานการประพันธ์ของเซอร์อดอล์ฟ บาซีล รูทิเอร์ (Sir Adolphe Basile Routhier) เมื่อ ค.ศ. 1880


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เบอร์ลินตะวันออก ประเทศเยอรมนีตะวันออก ปฏิทินฮิบรู เจ้า โย่วถิง ดาบมังกรหยก สตรอเบอร์รี ไทยพาณิชย์ เคน ธีรเดช อุรัสยา เสปอร์บันด์ พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ ตะวันทอแสง รัก 7 ปี ดี 7 หน มอร์ มิวสิค วงทู อนึ่ง คิดถึงพอสังเขป รุ่น 2 เธอกับฉัน เป๊ปซี่ น้ำอัดลม แยม ผ้าอ้อม ชัชชัย สุขขาวดี ประชากรศาสตร์สิงคโปร์ โนโลโก้ นายแบบ จารุจินต์ นภีตะภัฏ ยัน ฟัน เดอร์ไฮเดิน พระเจ้าอาฟงซูที่ 6 แห่งโปรตุเกส บังทันบอยส์ เฟย์ ฟาง แก้ว ธนันต์ธรญ์ นีระสิงห์ เอ็มมี รอสซัม หยาง มี่ ศรัณยู วินัยพานิช เจนนิเฟอร์ ฮัดสัน เค็นอิชิ ซุซุมุระ พอล วอล์กเกอร์ แอนดรูว์ บิ๊กส์ ฮันส์ ซิมเมอร์ แบร์รี ไวต์ สตาญิสวัฟ แลม เดสมอนด์ เลเวลีน หลุยส์ที่ 4 แกรนด์ดยุคแห่งเฮสส์และไรน์ กีโยม เลอ ฌ็องตี ลอเรนโซที่ 2 เดอ เมดิชิ มาตราริกเตอร์ วงจรรวม แจ็ก คิลบี ซิมโฟนีหมายเลข 8 (มาห์เลอร์) เรอัลเบติส เฮนรี ฮัดสัน แคว้นอารากอง ตุ๊กกี้ ชิงร้อยชิงล้าน กันต์ กันตถาวร เอก ฮิมสกุล ปัญญา นิรันดร์กุล แฟนพันธุ์แท้ 2014 แฟนพันธุ์แท้ 2013 แฟนพันธุ์แท้ 2012 แฟนพันธุ์แท้ 2008 แฟนพันธุ์แท้ 2007 แฟนพันธุ์แท้ 2006 แฟนพันธุ์แท้ 2005 แฟนพันธุ์แท้ 2004 แฟนพันธุ์แท้ 2003 แฟนพันธุ์แท้ 2002 แฟนพันธุ์แท้ 2001 แฟนพันธุ์แท้ 2000 บัวชมพู ฟอร์ด ซาซ่า เดอะแบนด์ไทยแลนด์ แฟนพันธุ์แท้ปี 2015 แฟนพันธุ์แท้ปี 2014 แฟนพันธุ์แท้ปี 2013 แฟนพันธุ์แท้ปี 2012 ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์ พรสวรรค์ บันดาลชีวิต บุปผาราตรี เฟส 2 โมเดิร์นไนน์ ทีวี บุปผาราตรี ไฟว์ไลฟ์ แฟนพันธุ์แท้ รางวัลนาฏราช นักจัดรายการวิทยุ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 แบร์นาร์แห่งแกลร์โว กาอึน จิรายุทธ ผโลประการ อัลบาโร เนเกรโด ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์ แอนดรูว์ การ์ฟิลด์ เอมี่ อดัมส์ ทรงยศ สุขมากอนันต์ ดอน คิง สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) สาธารณรัฐเอสโตเนีย สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย เน็ตไอดอล เอะโระเก คอสเพลย์ เอวีไอดอล ช็อคโกบอล มุกะอิ

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23301